ข้อมูลเทศบาล
๑ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้
๑. จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำและทางระบายน้ำ(ม. ๑๖ (๒),(ม. ๕๐(๒), (ม. ๑๖ (๒),
๒. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น(ม. ๕๔(๗))
๓. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา(ม. ๕๑ (๑))
๔. การขนส่งและการวิศวกรรมการจราจร(ม. ๑๖ (๖))
๕. การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่น ๆ (ม. ๑๖ (๔))
๖. การสาธารณูปการ (ม. ๑๖ (๕))
๗. การควบคุมอาคาร(ม. ๑๖ (๒๘))
๘. การผังเมือง (ม. ๑๖ (๒๕))
๙. การจัดให้มีการควบคุมการตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (ม. ๑๖ (๓),(ม. ๕๑(๓))
๒ ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การจัดการศึกษา(ม. ๑๖ (๙)) , (ม. ๕๐ (๖))
๒. การส่งเสริมกีฬา (ม. ๑๖ (๔))
๓. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล(ม. ๑๖ (๑๙), (ม. ๕๐ (๔)
๔. การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนกิจสถาน (ม. ๑๖(๒๐)) , (ม. ๕๑(๔))
๕. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และ ผู้ด้อยโอกาส (ม. ๑๖(๑๐)) , (ม. ๕๐(๗))
๖. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (ม. ๕๑(๖))
๗. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (ม. ๑๖ (๒๑))
๘. การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (ม. ๑๖ (๒๒))
๓ ด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อยมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(มาตรา ๑๖(๙))
๒. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณอื่น ๆ (มาตรา ๑๖(๒๓))
๓. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับ ที่อยู่อาศัย(มาตรา ๑๖(๑๗))
๔. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน(มาตรา ๑๖(๓๐))
๕. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง(มาตรา ๑๖(๑๗))
๗. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (มาตรา ๕๐(๑)
๔ ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์(มาตรา ๖๘(๕))
๒. การส่งเสริมการฝึก และการอาชีพของราษฎร(มาตรา ๑๖(๖))
๓. การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (มาตรา ๑๖(๗) ,(มาตรา ๕๑(๙))
๔. การส่งเสริมการท่องเที่ยว(มาตรา ๑๖(๘))
๕. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง(มาตรา ๑๖(๑))
๕ ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย (มาตรา ๑๖(๘)) และมาตรา(มาตรา ๕๐(๓))
๒. การดูแลที่สาธารณะ (มาตรา ๑๖(๒๗))
๓. การจัดการ การบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา ๑๖(๑๓))
๔. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (มาตรา ๑๖(๑๔))
๖ งานการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของ
ท้องถิ่น(มาตรา ๕๐(๘)) และ (มาตรา ๕๐(๘))
๗ ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (มาตรา ๑๖(๕))
๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎร ในการพัฒนาท้องถิ่น(มาตรา ๑๖(๑๖))
๓. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง(มาตรา ๕๐(๕))
ภารกิจทั้ง ๗ ด้าน ตามที่กฎหมายกำหนดได้ให้อำนาจของเทศบาลในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้ครอบคลุมทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่ นอกจากนั้นการดำเนินการของเทศบาลตำบลจะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารของเทศบาลเป็นสำคัญ
๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ที่เทศบาลจะต้องดำเนินการ
เทศบาลตำบลบ้านหลวง มีภารกิจ และภารกิจรอง ต้องดำเนินการดังนี้
ภารกิจหลัก
๑. การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
๒. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
๓. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
๔. การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕. การพัฒนาส่งเสริมสุขภาพและการสาธารณสุข
๖. การส่งเสริมและป้องกันยาเสพติด
๗. การสงเคราะห์ การพัฒนาเด็ก สตรี เยาวชน และด้อยโอกาส สวัสดิการของคนในชุมชน
ภารกิจรอง
๑. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น
๒. การส่งเสริมการเกษตรและปศุสัตว์
๓. การสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและเศรษฐกิจชุมชน
๔. การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร
๕. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
๗. สรุปปัญหา และแนวทางในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง
ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหลวงขึ้น เป็นเทศบาลตำบลบ้านหลวง ตั้งแต่วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ โดยเป็นเทศบาลขนาดเล็ก ได้กำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน เพื่อรองรับภารกิจตามอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ออกเป็น ๕ ส่วน ได้แก่ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตรากำลังทั้งสิ้น ๒๘ อัตรา โดยได้กำหนดตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ จำนวนตำแหน่ง และระดับตำแหน่งให้มีความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นายอภิสิทธิ์ ยลละออ
ปลัดเทศบาลตำบลบ้านหลวง
โทร. 095-6986957
วิสัยทัศน์และภารกิจ
วิสัยทัศน์เเละภารกิจ
วิสัยทัศน์
กินอิ่ม นอนอุ่น ชุมฉ่ำน้ำท่า ท่องเที่ยวพัฒนา ผืนป่าเขียวขจี เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง
ภารกิจ อำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบล
ภารกิจอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ (และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ ๑๓ ) พ.ศ. ๒๕๕๒ หน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง เทศบาลตำบลทีหน้าที่ที่ต้องทำใน เขตเทศบาล ดังต่อไปนี้๑ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้
๑. จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำและทางระบายน้ำ(ม. ๑๖ (๒),(ม. ๕๐(๒), (ม. ๑๖ (๒),
๒. ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น(ม. ๕๔(๗))
๓. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา(ม. ๕๑ (๑))
๔. การขนส่งและการวิศวกรรมการจราจร(ม. ๑๖ (๖))
๕. การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่น ๆ (ม. ๑๖ (๔))
๖. การสาธารณูปการ (ม. ๑๖ (๕))
๗. การควบคุมอาคาร(ม. ๑๖ (๒๘))
๘. การผังเมือง (ม. ๑๖ (๒๕))
๙. การจัดให้มีการควบคุมการตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (ม. ๑๖ (๓),(ม. ๕๑(๓))
๒ ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การจัดการศึกษา(ม. ๑๖ (๙)) , (ม. ๕๐ (๖))
๒. การส่งเสริมกีฬา (ม. ๑๖ (๔))
๓. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล(ม. ๑๖ (๑๙), (ม. ๕๐ (๔)
๔. การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนกิจสถาน (ม. ๑๖(๒๐)) , (ม. ๕๑(๔))
๕. การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และ ผู้ด้อยโอกาส (ม. ๑๖(๑๐)) , (ม. ๕๐(๗))
๖. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (ม. ๕๑(๖))
๗. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (ม. ๑๖ (๒๑))
๘. การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (ม. ๑๖ (๒๒))
๓ ด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อยมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(มาตรา ๑๖(๙))
๒. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณอื่น ๆ (มาตรา ๑๖(๒๓))
๓. การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับ ที่อยู่อาศัย(มาตรา ๑๖(๑๗))
๔. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน(มาตรา ๑๖(๓๐))
๕. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง(มาตรา ๑๖(๑๗))
๗. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (มาตรา ๕๐(๑)
๔ ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์(มาตรา ๖๘(๕))
๒. การส่งเสริมการฝึก และการอาชีพของราษฎร(มาตรา ๑๖(๖))
๓. การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (มาตรา ๑๖(๗) ,(มาตรา ๕๑(๙))
๔. การส่งเสริมการท่องเที่ยว(มาตรา ๑๖(๘))
๕. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง(มาตรา ๑๖(๑))
๕ ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย (มาตรา ๑๖(๘)) และมาตรา(มาตรา ๕๐(๓))
๒. การดูแลที่สาธารณะ (มาตรา ๑๖(๒๗))
๓. การจัดการ การบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (มาตรา ๑๖(๑๓))
๔. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (มาตรา ๑๖(๑๔))
๖ งานการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของ
ท้องถิ่น(มาตรา ๕๐(๘)) และ (มาตรา ๕๐(๘))
๗ ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑. การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (มาตรา ๑๖(๕))
๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎร ในการพัฒนาท้องถิ่น(มาตรา ๑๖(๑๖))
๓. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง(มาตรา ๕๐(๕))
ภารกิจทั้ง ๗ ด้าน ตามที่กฎหมายกำหนดได้ให้อำนาจของเทศบาลในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้ครอบคลุมทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่ นอกจากนั้นการดำเนินการของเทศบาลตำบลจะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารของเทศบาลเป็นสำคัญ
๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ที่เทศบาลจะต้องดำเนินการ
เทศบาลตำบลบ้านหลวง มีภารกิจ และภารกิจรอง ต้องดำเนินการดังนี้
ภารกิจหลัก
๑. การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
๒. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
๓. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
๔. การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕. การพัฒนาส่งเสริมสุขภาพและการสาธารณสุข
๖. การส่งเสริมและป้องกันยาเสพติด
๗. การสงเคราะห์ การพัฒนาเด็ก สตรี เยาวชน และด้อยโอกาส สวัสดิการของคนในชุมชน
ภารกิจรอง
๑. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น
๒. การส่งเสริมการเกษตรและปศุสัตว์
๓. การสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและเศรษฐกิจชุมชน
๔. การพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร
๕. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
๗. สรุปปัญหา และแนวทางในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง
ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหลวงขึ้น เป็นเทศบาลตำบลบ้านหลวง ตั้งแต่วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ โดยเป็นเทศบาลขนาดเล็ก ได้กำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน เพื่อรองรับภารกิจตามอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ออกเป็น ๕ ส่วน ได้แก่ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสาธารณสุข มีกรอบอัตรากำลังทั้งสิ้น ๒๘ อัตรา โดยได้กำหนดตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ จำนวนตำแหน่ง และระดับตำแหน่งให้มีความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน คุณภาพงาน และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาของเทศบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ